503 จำนวนผู้เข้าชม |
Researchers from School of Agriculture and Natural Resources, University of Phayao, organized a workshop on "Establishing a Collaboration Network for Utilizing Agro-Processing Residues Fermented with Microorganisms to Produce Black Soldier Fly Larvae as an Alternative Protein Source in Animal Feed to Reduce Costs."
On November 30, 2024, Associate Professor Dr. Chok Sorajjakul and Dr. Khankhai Danmek, researchers from School of Agriculture and Natural Resources at the University of Phayao, conducted a hands-on workshop for students of Wiang Mok School in Chiang Khong District, Chiang Rai Province. This event was part of the knowledge management and research utilization project titled:
"Establishing a Collaboration Network for Utilizing Agro-Processing Residues Fermented with Microorganisms to Produce Black Soldier Fly Larvae as an Alternative Protein Source in Animal Feed to Reduce Egg Production Costs in Highland Areas of Phayao and Chiang Rai Provinces."
The project is funded by the National Research Council of Thailand (NRCT) in collaboration with the Chiang Rai Animal Feed Research and Development Center.
Objectives of the Workshop:
The workshop aimed to transfer advanced microbial technology for agricultural waste management. This includes:
- Transforming agricultural waste: Demonstrating how to ferment residues such as pumpkin scraps and rejected vegetables with specially designed microorganisms, turning them into high-quality feed for black soldier fly larvae.
- Cultivating black soldier fly larvae: Providing techniques for farming black soldier fly larvae as a sustainable protein source for egg-laying chickens.
Expected Outcomes:
- Reducing feed costs for farmers.
- Minimizing waste and its environmental impact.
- Promoting economic opportunities for local communities in highland areas.
Collaboration:
This initiative was led by Associate Professor Dr. Chok Sorajjakul and Dr. Khankhai Danmek with funding and support from NRCT and the Chiang Rai Animal Feed Research and Development Center.
This workshop represents a significant step forward in using biotechnology to address environmental challenges while fostering sustainable agricultural practices in Northern Thailand.
-------------------------------------------
เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2567 รศ.ดร.โชค โสรัจกุล และ ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ นักวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนโรงเรียนเวียงหมอก อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ภายใต้โครงการการจัดการความรู ้การวิจัยและถ่ายทอด เพื่อการใช้ประโยชน์ เรื่อง “การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือของการแปรรูปพืชผักที่ผ่านการปรับสภาพด้วยจุลินทรีย์เพื่่อผลิตหนอนแมลงวันลายสำหรับใช้เป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกในอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุน
การเลี้ยงไก่ไข่ ในพื้นที่สูงจังหวัดพะเยา และ จังหวัดเชียงราย" ภายใต้ทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ โดยมีความร่วมมือจากศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย การอบรมนี้มุ่งเน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้จุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะในการหมักวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เศษฟักทอง และ ผักคัดทิ้งให้กลายเป็นอาหารที่มีคุณภาพสำหรับหนอนแมลงวันลายเป็นอาหารไก่ไข่ ช่วยลดต้นทุนการผลิต รวมถึงลดของเสียที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อสร้างองค์ความรู้และเสริมสร้างศักยภาพให้กับนักเรียนโรงเรียนเวียงหมอก อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยมุ่งเน้นการจัดการเศษเหลือจากการแปรรูปพืชผักในชุมชน เพื่อเปลี่ยนให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าโดยใช้เทคโนโลยีจุลินทรีย์ขั้นสูง
ความร่วมมือ:
โครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย พร้อมการนำทีมวิจัยโดย รศ.ดร.โชค โสรัจกุล และ ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ จากมหาวิทยาลัยพะเยา
กิจกรรมดังกล่าวถือเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างความยั่งยืนในด้านการเกษตรในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย